วันศุกร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2559
วันเสาร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2559
วันจันทร์ที่ 12 กันยายน 2559
การเรียนการสอน
STEM STEAM Education
STEM Education
- Science
- Technology
- Engineering
- Mathematics
Science วิทยาศาสตร์
- การเรียนรู้เรื่องราวธรรมชาติ
- ปรากฏการณ์ต่างๆ ตามธรรมชาติ
Technology เทคโนโลยี
- วิทยาการการนำเอาความรู้วิทยาศาสตร์มาใช้
- สิ่งที่เราสร้างหรือพัฒนาขึ้นมา
- สิ่งประดิษฐ์ตามยุคสมัยต่างๆ
Engineering วิศวกรรมศาสตร์
- ทักษะกระบวนการออกแบบ สร้างแบบ
- กระบวนการทำงานของวิศวกรรมศาสตร์นั้น
- การพัฒนาความคิดการออกแบบ
Mathematics คณิตศาสตร์
- การคำนวณ การคาดคะเน การวัด
- ทักษะทางคณิตศาสตร์
- คณืตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
STEM การจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย
แทรกเข้าไปการจัดกิจกรรม
เด็กอยากเรียนรู้ด้วยตนเอง
เด็กได้ใช้ความสามารถด้วยตนเอง ได้รับความสนุกสนาน
STEAM การบูณณาการทางศิลปะเพื่อให้เด็กได้มีความคิดสรั้างสรรค์และมีจินตนาการ
ออกแบบงานชิ้นนั้นให้มีความสวยงาม
- Science
- Technology
- Engineering
- Art
- Mathematics
ภาพกิจกรรม
วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559
วันจันทร์ที่ 5 กันยายน 2559
การเรียนการสอน
การเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
กระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
เด็กเกิดความสนุกเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย
ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนๆและสิ่งแวดล้อม
การเล่นของเด็กมี 3 ขั้น
1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส
2. ขั้นการเล่นสร้างสรรค์
3. ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์
ประเภทการเล่น
- การเล่นกลางแจ้ง
- การเล่นในร่ม
องค์ประกอบของการเล่นสร้างสรรค์
- สภาวะการเรียนรู้
- พัฒนาการของการรู้คิด
- กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
เริ่มต้นด้วยการตัวปั๊มการเข้าเรียนแล้วอาจารย์จึงได้เรียกให้แต่ล่ะคนมาลิงค์บล็อก
จากนั้นจึงได้ให้แบ่งกลุ่มแล้วทำกิจกรรม
อุปกรณ์มี
- ไม้จิ้มฟัน
- ดินน้ำมัน
โดยมีกติกาว่า
- รอบแรกห้ามพูด
- รอบสองในกลุ่มพูดได้คนเดียว
- รอบสามพูดได้ทุกคน
ให้ทำอย่างไรก็ได้สร้างตึกให้สูงที่สุด
การเรียนการสอน
การเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
กระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
เด็กเกิดความสนุกเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย
ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนๆและสิ่งแวดล้อม
การเล่นของเด็กมี 3 ขั้น
1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส
2. ขั้นการเล่นสร้างสรรค์
3. ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์
ประเภทการเล่น
- การเล่นกลางแจ้ง
- การเล่นในร่ม
องค์ประกอบของการเล่นสร้างสรรค์
- สภาวะการเรียนรู้
- พัฒนาการของการรู้คิด
- กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
เริ่มต้นด้วยการตัวปั๊มการเข้าเรียนแล้วอาจารย์จึงได้เรียกให้แต่ล่ะคนมาลิงค์บล็อก
จากนั้นจึงได้ให้แบ่งกลุ่มแล้วทำกิจกรรม
อุปกรณ์มี
- ไม้จิ้มฟัน
- ดินน้ำมัน
โดยมีกติกาว่า
- รอบแรกห้ามพูด
- รอบสองในกลุ่มพูดได้คนเดียว
- รอบสามพูดได้ทุกคน
ให้ทำอย่างไรก็ได้สร้างตึกให้สูงที่สุด
กิจกรรมที่สอง พับเรือบรรทุกสินค้า
กิจกรรมที่สาม แต่งกายด้วยหนังสือพิมพ์ตามความคิดสร้างสรรค์
วันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม 2559
การเรียนการสอน
อาจารย์แจกใบปั๊มการเข้าเรียนให้แต่ล่ะคน
แล้วก็นั่งรอเพื่อนๆมาสักพัก จากนั้นอาจารย์จึงเริ่มเข้าสู่เนื้อหา
โดยการแจกกระดาษเนื้อเพลงให้กับนักศึกษา
แล้วก็สอนให้นักศึกษาร้องเพลงเป็นภาษาอังกฤษ
ความหมายของความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์เป็นการคิดอย่างอิสระในเชิงนวัตกรรม จินตนาการ
สามารถคิดนอกกรอบเพื่อนำมาแก้ปัญหาได้และต้องมีอิสรภาพในการคิด
คุณค่าของความคิดสร้างสรรค์
สร้างนิสัยในการทำงานที่ดี
พัฒนากล้ามเนื้อ
เปิดโอกาสให้เด็กได้ค้นคว้า ได้ทดลอง ได้ประสบการณ์
องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
ความคิดคล่องแคล่ว
ความคิดริเริ่ม
ความคิดยืดหยุ่น
ความคิดละเอียดละออ
พัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
1. ระยะแรกเกิด - 2 ขวบ
2. ระยะ 2-4 ขวบ
3. ระยะ 4-6 ขวบ
ลำดับขั้นของการพัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์มี 5 ขั้น
ขั้นที่ 1 แสดงออกอย่างอิสระทางความคิด
ขั้นที่ 2 งานที่ผลิตต้องอาศัยทักษะบางอย่าง
ขั้นที่ 3 งานประดิษฐ์สิ่งต่างๆต้องไม่ซ้ำใคร
ขั้นที่ 4 ปรับปรุงขั้นที่ 3
ขั้นที่ 5 คิดสิ่งที่เป็นนามธรรมขั้นสูงสุด
ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์
- ก่อให้เกิดสิ่งแปลกใหม่
- อำนวยประโยชน์สุขให้แก่บุคคล
- ช่วยให้เข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาได้ดี
- ช่วยให้บุคคลประสบความสำเร็จ
- ช่วยให้ปรับตัวได้ดี
อาจารย์ได้แจกกระดาษให้คนล่ะแผ่นแล้วให้พับจรวจ
ตามความคิดสร้างสรรค์ของเราเองเพื่อที่จะนำมาร่อนให้ลงกล่อง
หลังจากนั้นอาจารย์จึงได้ให้แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์โดยให้แต่ล่ะกลุ่มและแต่ล่ะคนหยิบสีคนล่ะแท่งแล้วอาจารย์ได้แจกกระดาษให้กลุ่มล่ะแผ่นจากนั้นให้ทุกคนอยู่ในความเงียบแล้วเอาสีวาดอะไรก็ได้ตามใจเลยวาดไปเรื่อยๆจนกว่าเพลงจะจบแล้วให้แต่ล่ะกลุ่มมาหยิบสีไปอีกคนล่ะแท่งแล้วระบายส่วนที่เป็นวงกลมหลังจากนั้นก็ให้แต่ล่ะกลุ่มเอาผลงานมาวางโชว์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)